พลาสมา
ในทางฟิสิกส์ และเคมี พลาสมา คือ แก๊สที่มีสภาพเป็นไอออน และมักจะถือเป็นสถานะหนึ่งของสส าร การมีสภาพเป็นไอออนดังกล่าวนี้ หมายความว่า จะมีอิเล็กตรอนอย่างน้อย 1 ตัว ถูกดึงออกจากโมเลกุล ประจุไฟฟ้าอิสระทำให้พลาสมามีสภ าพการนำไฟฟ้าเกิดขึ้น
สถานะที่ 4 ของสสารนี้ มีการเอ่ยถึงครั้งแรก โดยเซอร์ วิลเลียม ครูกส์ (Sir William Crookes) เมื่อ ค.ศ. 1879 และคิดคำว่าพลาสมา (plasma) โดย เออร์วิง แลงมัวร์ (Irving Langmuir) เมื่อ ค.ศ. 1928 เนื่องจากเขานึกถึงพลาสมาของเลื อด
พลาสมาจัดได้ว่าเป็นสถานะที่ 4 ของสสาร เนื่องจากมีลักษณะเฉพาะที่แตกต่ างไปจากสถานะอื่นอย่างชัดเจน พลาสมาประกอบด้วยอนุภาคที่มีประ จุทั้งประจุบวกและลบ ในสัดส่วนที่ทำให้ประจุสุทธิเป็ นศูนย์ การอยู่รวมกันของอนุภาคเหล่านี้ เป็นแบบประหนึ่งเป็นกลาง (quasineutral) ซึ่งหมายความว่าอิเล็กตรอนและไอ ออนในบริเวณนั้น โดยรวมแล้วมีจำนวนเท่า ๆ กัน และแสดงพฤติกรรมร่วม (collective behavior)
พฤติกรรมร่วมนี้หมายถึง การเคลื่อนที่ของอนุภาคในพลาสมา ไม่เพียงแต่จะขึ้นอยู่กับเงื่อน ไขในบริเวณนั้นๆ เท่านั้น แต่เป็นผลโดยรวมจากพลาสมาส่วนให ญ่ มากกว่าจะเป็นผลมาจากการชนกันขอ งอนุภาคที่อยู่ใกล้เคียงกัน เนื่องจากอนุภาคในพลาสมาที่สถาน ะสมดุล จะมีการสั่นด้วยความถี่ที่สูงกว ่าความถี่ในการชนกันของอนุภาค 2 ตัวที่อยู่ใกล้กัน ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าพฤติกรรมร ่วมนี้เป็นพฤติกรรมที่กลุ่มพลาส มาแสดงออกมาร่วมกัน
พลาสมาสามารถเกิดได้โดย การให้สนามไฟฟ้าปริมาณมากแก่ก๊า ซที่เป็นกลาง เมื่อพลังงานส่งผ่านไปยังอิเล็ก ตรอนอิสระมากพอ จะทำให้อิเล็กตรอนอิสระชนกับอะต อม และทำให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะ ตอม กระบวนการนี้เรียกว่ากระบวนการแ ตกตัวเป็นไอออน (ionization) ซึ่งจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้จำนวนอิเล็กตรอนที่หลุดออก มานี้เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างมากซึ่ งจะทำให้ก๊าซแตกตัวและกลายเป็นพ ลาสมาในที่สุด พลาสมามีความแตกต่างจากสถานะของ แข็ง สถานะของเหลว และสถานะก๊าซ โดยมีเงื่อนไข 3 ประการ ในเรื่องดังต่อไปนี้คือ ความยาวคลื่นเดอบาย จำนวนอนุภาค และความถี่พลาสมา ซึ่งทำให้พลาสมามีความจำเพาะเจา ะจงที่แตกต่างจากสถานะอื่นออกไป
สถานะที่ 4 ของสสารนี้ มีการเอ่ยถึงครั้งแรก โดยเซอร์ วิลเลียม ครูกส์ (Sir William Crookes) เมื่อ ค.ศ. 1879 และคิดคำว่าพลาสมา (plasma) โดย เออร์วิง แลงมัวร์ (Irving Langmuir) เมื่อ ค.ศ. 1928 เนื่องจากเขานึกถึงพลาสมาของเลื
พลาสมาจัดได้ว่าเป็นสถานะที่ 4 ของสสาร เนื่องจากมีลักษณะเฉพาะที่แตกต่
พฤติกรรมร่วมนี้หมายถึง การเคลื่อนที่ของอนุภาคในพลาสมา
พลาสมาสามารถเกิดได้โดย การให้สนามไฟฟ้าปริมาณมากแก่ก๊า
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น